วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

แบบฝึกท้ายบท

บทที่ 6

1ที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ ระเบียน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เรียกว่า
ตอบ ข แฟ้มข้อมูล
2ข้อใดไม่ใช่ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในแฟ้ม
ตอบ ข แฟ้มรายงาน
3แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้อย่างค่อนข้างถาวร และมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลาคือ
ตอบ ง แฟ้มหลัก
4แฟ้มข้อมูลใดที่เก็บรายการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักต่อไปนี้
ตอบ ข แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง
5แฟ้มชนิดใดใช้เก็บผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการของแฟ้มอื่น ๆ
ตอบ ก แฟ้มควบคุม
6ข้อใดเป็นชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
7แฟ้มหลักสามารถจัดเป็นแฟ้มชนิดใดได้
ตอบ ข แฟ้มแสดงผล
8การจัดระเบียนแฟ้มข้อมูลในระดับเบื้องต้นสามารถแบ่งได้เป็น
ตอบ ก แฟ้มข้อมูลแบบลำดับและแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
9แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่จัดเก็บระเบียนต่าง ๆ เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
ตอบ ก แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
10การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ สามารถจัดเก็บในสื่อบันทึกแบบใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
11การจัดเก็บระเบียนข้อมูลตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ ค Order file
12การจัดเก็บระเบียนข้อมูลแบบไม่เรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ตอบ Pile
13ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
14แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่มีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่เก็บข้อมูลกับเขตข้อมูลที่เป็นเขตหลัก
ตอบ ค แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
15แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง
ตอบ ค แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
16แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่ทุกระเบียนมีขนาดเท่ากัน
ตอบ ข แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
17ข้อใดเป็นข้อมูลจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ตอบ ง เปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูลในสื่อบันทึก

18แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
19การสร้างแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีวิธีใด ทีมีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนที่ใช้เก็บดรรชนี และส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
20ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area มีการแบ่งเนื้อที่ส่วนใดบ้าง
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค
21ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area ข้อใดไม่ใช่การแบ่งดรรชนี
ตอบ Sector Index
22ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Index and data blocks มีโครงสร้างเป็นแบบใด
ตอบ ค แบบต้นไม้
23แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถมีคีย์หลักได้หลายตัว
ตอบ ง แฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์
24ในแฟ้มข้อมูลหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างความสัมพันธ์ของระเบียนกับค่าขอคีย์หลัก
ตอบ ก การจัดระเบียนแบบแฟ้ม Inverted
25ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างคีย์รองกับคีย์หลัก
ตอบ ก การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Inverted
26ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่มีการใช้ Linked list ช่วยในการค้นหาข้อมูล
ตอบ ข การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Multi - List
27ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียนแฟ้มแบบใดที่ใช้การเชื่อมโยงค่าของคีย์รองเช้า
ตอบ ข การจัดระเบียนแฟ้มแบบ Multi - List
28ข้อใดเป็นวิธีการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
29On – Line Processing เป็นการประมวลผลแบบใด
ตอบ แบบโต้ตอบ
30การประมวลผลแบบใดที่มีการปรับปรุงข้อมูลทันทีที่เกิดรายการ
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และ ข


บทที่ 7


1รายละเอียดข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติของเอนทิตี คือ
ตอบ ก Attribut
2บริษัทแห่งหนึ่งกำหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า หนักงาน 1 คน จะติดต่อลูกค้าได้หลายคน แต่ลูกค้าแต่ละคนจะติดต่อพนักงานได้เพียงคนเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับลูกค้าจัดเป็นความสัมพันธ์
ตอบ ข หนึ่งต่อกลุ่ม
3เอนทิตี A และเอนทิตี Bมีความสัมพันธ์กันดังรูป
ตอบ ง M:M
4เอนทิตี ( Entity )หมายถึง
ตอบ ก ชื่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งจัดเก็บข้อมูลได้
5ชนิดของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ตอบ ค ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
6โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วยหลาย ๆ เอนทิตีที่มีความสัมพันธ์ กันมากกว่า
ตอบ ง ระเบียน
7ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล
ตอบ ค สามารถเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลาย ๆ ที่ได้
8กรณีที่กำหนดว่านักเรียนแต่ละคน สามารถลงทะเบียนเรียนหลายวิชา ในขณะที่รายวิชาแต่ละวิชา นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้หลายคน จงหาว่าความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิตีนักเรียนกับเอนทิตีรายวิชา เป็นความสัมพันธ์แบบใด
ตอบ ข แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
9ความสัมพันธ์ ที่กล่าวถึงไว้ในระบบฐานข้อมูล หมายถึง
ตอบ ถูก ข และ ค
10ข้อใดแสดงความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
ตอบ ง ƒƒ „„

11ในระบบฐานข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็นกี่ระดับ
ตอบ ข 3ระดับ
12ระดับข้อมูลที่ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลของตนเอง จัดเป็นกี่ระดับ
ตอบ ค ระดับภายนอก
13ระดับของข้อมูลในระดับใดที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบรายละเอียด
ตอบ ข ระดับแนวคิด และระดับภายใน
14ระดับใดของข้อมูลที่เป็นการจัดเก็บข้อมูลจริง
ตอบ ค ระดับภายใน
15การมองเอนทิตี และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี จัดเป็นการมองในระดับใด
ตอบ ง ระดับแนวคิด
16ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการฐานข้อมูล คือข้อใด
ตอบ ง ระบบควบคุมข้อมูล
17ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) มีหน้าที่อย่างไร
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
18คำสั่งที่ใช้สร้างรีเลชัน ก่อนการจัดเก็บข้อมูล คือคำสั่งใด
ตอบ ค CREATE TABLE
19คำสั่ง DELETE ใช้สำหรับงานใด
ตอบ ค ลบข้อมูลได้ครั้งละ 1 ทูเพิล หรือหลาย ๆ ทูเพิล
20คำสั่งที่ใช้เพิ่มข้อมูลรายการใหม่เข้าไปในรีเลชันที่สร้างแล้ว คือคำสั่งใด
ตอบ ก INSERT


บทที่ 8



1ขั้นตอนการเตรียมการในการพัฒนาโปรแกรม ด้วยการลำดับความคิดในการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้กับานใดงานหนึ่ง เรียกว่า
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
2ขั้นตอนการตีความกับโจทย์ปัญหา เรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
3ข้อใดไม่ใช่งานที่ต้องทำในการวิเคราะห์งาน
ตอบ ง การเขียนโปรแกรม
4สิ่งที่โจทย์ต้องการคือ
ตอบ ค ถูกทั้ง ก และ ข
5ข้อมูลนำเข้า คือ
ตอบ ค ถูกทั้ง ก และ ข
6จากโจทย์ข้างต้น จำเป็นต้องตั้งตัวแปรแทนค่าใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
7การกำหนดตัวแปรในการวิเคราะห์งาน ควรกำหนดให้แทนค่าใด
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
8ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งานเป็นการเขียนแสดงลำดับขั้นตอนการประมวลผล
ตอบ ข การกำหนดตัวแปร
9ขั้นตอนใดในการวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนเพื่อกำหนดตัวแปรต่าง ๆ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
10ในการวิเคราะห์งาน หากโจทย์ไม่ได้กำหนดรูปแบบผลลัพธ์มาให้ ควรทำอย่างไรในขั้นตอนการกำหนดรูปแบบผลลัพธ์
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และ ค
11การเขียนสัญลักษณ์รูปภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คือ
ตอบ การเขียนผังงาน
12สัญลักษณ์ใด หมายถึง การประมวลผล
ตอบ ค

13สัญลักษณ์ใด หมายถึง การตัดสินใจ
ตอบ ข

14สัญลักษณ์ใด หมายถึง กระดาษพิมพ์
ตอบ ง

15สัญลักษณ์ใด หมายถึง จุดเชื่อมต่อการทำงาน
ตอบ ก

16จากผังงานข้างต้น ค่า x สุดท้าย มีค่าเท่าใด
ตอบ ง 6
17จากผังงานข้างต้น ค่า RESULT แสดงมีค่าเป็นเท่าใด
ตอบ ง 1
18วงจรการทำงานในผังงานข้างต้น มีการทำงานทั้งหมดกี่รอบ
ตอบ ง 6
19จากผังงานข้างต้นการแสดงว่า x และ RESULT เป็นการแสดงผลทางใด
ตอบ ก จอภาพ
20จากผังงานข้างต้น RESULT ที่แสดงผล เกิดจากการทำงานในข้อใด
ตอบ ก 1+2+3+4+5
21วิธีการทางคอมพิวเตอร์ ข้อใดเป็นขั้นตอนต่อจากการเขียนผังงาน
ตอบ ก การวิเคราะห์งาน
22ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนไมโครคอมพิวเตอร์ภาษาใด เหมาะกับงานทางด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์
ตอบ ง C
23การเลือกใช้ภาษาในการเขียนโปรแกรมควรพิจารณาจาก
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
24เพื่อลดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม จึงควรเขียนโปรแกรมโดย
ตอบ ง ใช้วิธีใดก็ได้ทั้ง ก และ ข และ ค
25การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมที่ทำขึ้น อยู่ในขั้นตอนใด
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และค

26การตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม อาจพบความผิดพลาดในลักษณะใด
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
27ความผิดพลาดในการเขียนรูปแบบคำสั่งเรียกว่า
ตอบ ง ถูกทั้ง ก และข
28ความผิดพลาดในการทำงานของโปรแกรม เรียกว่า
ตอบ ค ความผิดพลาดทางผังงาน
29ข้อใดเป็นเอกสารประกอบการใช้งานโปรแกรม
ตอบ ตอบ ก เอกสารคู่มือระบบ

30เอกสารใดที่อธิบายรายละเอียดของโปรแกรม
ตอบ ค เอกสารคู่มือวิเคราะห์งาน


บทที่ 9


1. ข้อใดเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ
ตอบ ง ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ
ตอบ ค ตัดสินใจแทนมนุษย์ได้
3. ข้อใดเป็นระบบสารสนเทศที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลในงานประจำ
ตอบ ข ระบบสำนักงานอัตโนมัติ
4. ข้อใดไม่ใช่โปรแกรมสำหรับสำนักงานอัตโนมัติ
ตอบ ค โปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
5. ระบบที่เกิดจากการนำสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในระบบการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลงมาประมวลผล คือ
ตอบ ง ถูกทั้ง ข และ ค
6. ระบบสารสนเทศแบบใดที่อาจมีการสร้างแบบจำลองแบบต่าง ๆ แล้วเลือกแบบที่ดีที่สุด
ตอบ ง ระบบผู้เชี่ยวชาญ
7. ระบบใดที่มีการสร้างซอฟต์แวร์ให้คอมพิวเตอร์ทำงานคล้ายกับเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ตอบ ข ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

8. ระบบสารสนเทศแบบใดที่มีการสร้างฐานความรู้ขึ้น เพื่อใช้งานในระบบ
ตอบ ก ระบบการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง
9. การวินิจฉัยโรคบางโรคหากขาดแคลนแพทย์เชี่ยวชาญ จะสามารถสร้างระบบใดมาช่วยงานได้
ตอบ ค ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
10. ระบบสารสนเทศแบบใดที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการวางแผนและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงในองค์กร

วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บทที่ 5

แบบประเมินผลการเรียนรู้ บทที่ 5

1. คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานใด
ตอบ ก.เลขฐานสิบ

2. ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย
ตอบ ง.0 ถึง 1

3. ตัวเลขในระบบเลขฐานแปด ประกอบด้วย
ตอบ ค. 0 ถึง 7

4. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ ประกอบด้วย
ตอบ ข. 0 ถึง 9

5. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย
ตอบ ก. 0 ถึง F

6. (111) มีค่าเท่าใดในฐานสิบ
2
ตอบ ค. 7

7. 12 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ง.(1100)
2

8. ตัวเลขในข้อใดไม่ถูกต้อง
ตอบ ก. ( 110)
8

9. ค่า (132) มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ

ตอบ ก .90
10. 797 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ (1435)
8
11. (13A) มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
16

ตอบ ง. 314


12. 331 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ตอบ ข. ( 14B)
6

13. รหัสแทนข้อมูลชนิดแรกที่เกิดขึ้น คือรหัสใด
ตอบ ข. BCD

14. รหัสมาตรฐานที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหัสใด
ตอบ ก. ASCII

15. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง IBM ระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไป คือรหัสใด
ตอบ ค. EBCDIC